ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน


HUSOC

รายวิชานี้ได้ปรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอนเป็น "การเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัย (Self-Paced)"สอนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ (on-site) และมีการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ (BRU MOOC)






วัตถุประสงค์ของหลักสูตร 6.1 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้เศรษฐกิจชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในชุมชน 6.2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาการตลาดของชุมชน 6.3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาการผลิตของชุมชน 6.4. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนของชุมชน 6.5. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาทักษะการบริหารจัดการเศรษฐกิจชุมชน 6.6. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาการพัฒนาความหลากหลายของกลุ่มอาชีพชุมชน และการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน



  • LO1 : ด้านความรู้ 1. มีความรู้และความเข้าใจเศรษฐกิจชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในชุมชน 2. สามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาด้านต่างๆ อาทิ การตลาดของชุมชน การผลิต แหล่งเงินทุน ทักษะการบริหารจัดการเศรษฐกิจชุมชน และพัฒนาความหลากหลายของกลุ่มอาชีพชุมชน และการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน
  • LO2 : ด้านทักษะ 1. มีทักษะการตลาดของชุมชน การผลิต แหล่งเงินทุน ทักษะการบริหารจัดการเศรษฐกิจชุมชน และพัฒนาความหลากหลายของกลุ่มอาชีพชุมชน และการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน 2. มีทักษะการเลือกใช้รูปแบบการสื่อสารสนทนา การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อให้เกิดประโยชน์ด้านการประกอบอาชีพต่อไป
  • LO3 : ด้านจริยธรรม 1. สามารถนําความรู้มาประยุกต์ใช้ เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ชุมชนและสังคม 2. มีจิตอาสา เป็นแบบอย่างที่ดี มีความเข้าใจตนเองและผู้อื่น 3. มีจิตสำนึกต่อการเป็นผู้ผลิตที่ซื่อสัตย์ต่อลูกค้า และเป็นผู้ประกอบการที่ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภคและสังคม
  • LO4 : ด้านลักษณะบุคคล 1. สามารถเป็นนักพัฒนาในชุมชน ความเข้าใจเศรษฐกิจชุมชนเพื่อทำให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในชุมชน 2. มีความคิดสร้างสรรค์ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ แปรรูป ทุนชุมชนให้เกิดเศรษฐกิจชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในชุมชน


  • บทที่ 1 การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
  • บทที่ 2 ตลาดชุมชน
  • บทที่ 3 การผลิตชุมชน
  • บทที่ 4 เงินทุนชุมชน
  • บทที่ 5 การพัฒนากลุ่มอาชีพ
  • บทที่ 6 การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
  • แหล่งความรู้เพิ่มเติม


  • คุณสมบัติของผู้เรียน 1. จบการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับมัธยมตอนปลายหรือเทียบเท่า 2. ผู้ประกอบการธุรกิจเพื่อชุมชนในท้องถิ่น 3. บุคคลทั่วไปที่มีความสนใจการประกอบธุรกิจ



  • การประเมินผลระหว่างเรียน (Formative Assessment) วัดจากการทำแบบทดสอบหลังเรียนประจำโมดูลการเรียนรู้
  • การประเมินผลหลังสิ้นสุดการเรียนการสอน (Summative Assessment) วัดจากการทำแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
  • การตัดสินให้ผ่าน (Pass) และการให้ประกาศนียบัตร (Certificate) เมื่อผู้เรียนได้คะแนนรวมทั้งหมด ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป โดยระบบจะแสดงใบประกาศนียบัตรให้อัตโนมัติในแถบเมนู Progress ซึ่งผู้เรียนสามารถ Save หรือสั่งพิมพ์ได้ด้วยตนเอง ดังนั้นผู้เรียนจึงควรเข้าเรียนและทำกิจกรรมการเรียนรู้ให้ครบทุกโมดูลการเรียนรู้




  • Enroll