ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

การผลิตและนำเสนอมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา


Education

รายวิชานี้ได้ปรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอนเป็น "การเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัย (Self-Paced)"






รายวิชานี้ออกแบบมาเพื่อช่วยให้อาจารย์และผู้ที่เกี่ยวข้องในการสร้างรายวิชาเข้าใจถึงกระบวนการ ขั้นตอน วิธีการวางแผน ไปจนถึงการออกแบบและการผลิตรายวิชา MOOC ด้วยระบบ Thai MOOC ผ่านเว็บไซต์ www.ThaiMOOC.org



  • LO1 : ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจการออกแบบสื่อมัลติมีเดีย การพัฒนานวัตกรรมทางเทคโนโลยี พร้อมทั้งประยุกต์ใช้สื่อมัลติมีเดียได้
  • LO2 : ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจด้านการประดิษฐ์หุ่นยนต์และเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมการทำงานนของหุ่นยนต์เบื้องต้นได้
  • LO3 : ผู้เรียนมีเจตต่อการสร้างสื่อมัลติมีเดีย และสร้างสื่อนวัตเทคโนโลยีและหุ่นยนต์ได้


  • บทที่ 1 ประวัติและความเป็นมา ประเภทของ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน และแอพพลิเคชันเพื่อการศึกษา
  • บทที่ 2 การประยุกต์ใช้งานมัลติมีเดีย
  • บทที่ 3 อนิเมชัน (Animation)
  • บทที่ 4 ตัวอักษรและรูปแบบตัวอักษร (Character and Fonts)
  • บทที่ 5 การพัฒนาระบบมัลติมีเดียและไฮเปอร์เท็กซ์และไฮเปอร์มีเดีย (HyperText and Hypermedia)
  • บทที่ 6 ระบบเครือข่ายมัลติมีเดีย (Multimedia Network) และสตรีมมิ่งมีเดีย (Streaming Media)
  • บทที่ 7 การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา
  • บทที่ 8 การสร้างแอพพลิเคชั่นเพื่อการศึกษา
  • บทที่ 9 ประดิษฐ์ และเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์เพื่อการศึกษา
  • แหล่งความรู้เพิ่มเติม


  • รายวิชานี้เหมาะสำหรับอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา ทีมงานที่ทำหน้าที่จัดการรายวิชาในระบบ www.ThaiMOOC.org หรือผู้สนใจทั่วไป



  • การประเมินผลระหว่างเรียน (Formative Assessment) วัดจากการทำแบบทดสอบหลังเรียนประจำโมดูลการเรียนรู้
  • การประเมินผลหลังสิ้นสุดการเรียนการสอน (Summative Assessment) วัดจากการทำแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
  • การตัดสินให้ผ่าน (Pass) และการให้ประกาศนียบัตร (Certificate) เมื่อผู้เรียนได้คะแนนรวมทั้งหมด ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป โดยระบบจะแสดงใบประกาศนียบัตรให้อัตโนมัติในแถบเมนู Progress ซึ่งผู้เรียนสามารถ Save หรือสั่งพิมพ์ได้ด้วยตนเอง ดังนั้นผู้เรียนจึงควรเข้าเรียนและทำกิจกรรมการเรียนรู้ให้ครบทุกโมดูลการเรียนรู้




  • about.txt กำลังแสดง about.txt
    Enroll